วิชา การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย
นางสาว ลีลาวดี พุ่มกระจ่าง
รหัสนักศึกษา 564435115
สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เสนอ
(อาจารย์ ตวงสิทธิ์ สนขำ)
หน่วยการเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา
การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร๋
มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรี
ชนิดของข้อมูลตัวแปลที่พบในการเขียน อัลกอริทึม ส่วนใหญ่
Integer แปลว่า เก็บข้อมูล จำนวนเต็ม
Real แปลว่า เก็บข้อมูล ทศนิยม ( จำนวนจริง )
Sting แปลว่า เก็บข้อมูลตัวเลขตัวเลข หรือข้อความ 1 ตัว
Char แปลว่า เก็บข้อมูล ตัวอักษร
Boolean แปลว่า เก็บค่าตรรกะที่มี 2 ค่า คือ จริง (T) เท็จ (F)
ตาราง ตรรกะ แสดง จริงหรือเท็จ
Boolean แปลว่า เก็บค่าตรรกะที่มี 2 ค่า คือ จริง (T) เท็จ (F)
1.ตัวเลขจำนวนเต็ม (Integer) เช่น 0,1
2 ทศนิยม (Float/Real) ที่สามารถนำมาคำนวณได้เช่น 00.00
3 ตัวอักษร (Char) 1 ค่าตัวอักษร อยู่ภายใต้เครื่องหมายฝนทอง (Single Quote) ' ' สามารถประกอบด้วย ข้อมูลแบบตัวเลขได้คือ 0-9 (นำมาคำนวณไม่ได้) A-Z , a-z , $ # % ^ & ! @ + - * / \ ตัวอย่าง 'Az' ผิดเพราะรูปแบบเป็น Char และค่ามากกว่า 1 ค่า ตัวอย่างที่ถูกต้องคือ 'F' , 'M' , '0' , '9'
4 .ข้อความ (String) อยู่ภายใต้เครื่องหมายฟันหนู " " (Double Quote) ใช้กับตัวอักษรตั้งแต่1ค่าขึ้นไป
ตัวอย่าง "A" , "564435115"
ตัวอย่าง "A" , "564435115"
ตาราง ตรรกะ แสดง จริงหรือเท็จ
A&&B | A ll B | ||
A | |||
T
|
|||
เครื่องหมายการเปรียบเทียบ
ตัวดำเนินการ กระบวนการ
== เท่ากับ
!= ไม่เท่ากับ
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ
>= มากกว่าหรือเท่ากับ
> มากว่า
< น้อยกว่า
เครื่องหมายการคำนวณ ทางคณิตศาสตร์
ลำดับความสำคัญของเครื่องหมาย
ลำดับความสำคัญของ Operator
ลำดับความสำคัญ โอเปอเรเตอร์ ลำดับของการโอเปอเรเตอร์
1 () ซ้ายไปขวา
2 !,++,-- ซ้ายไปขวา
3 ^ -
4 *,/,% ซ้ายไปขวา
5 +,- ซ้ายไปขวา
6 <,<=,>,>= ซ้ายไปขวา
7 =,!= ซ้ายไปขวา
8 && ซ้ายไปขวา
9 l l ซ้ายไปขวา
10 *=,/=,%=,+=,-= ซ้ายไปขวา
อัลกอริธึม
หมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ใช้ในการแก้ไขปัญหา ในคำสั่งต่างๆๆ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามคำสั่ง จะทำงานเป็นขั้นตอน สามารถแก้ไขปัญหาหรือประมวลผลตามต้องการได้
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ( อัลกอริทึม )
มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ดังนี้
1) ระบุสิ่งที่โจทย์ต้องการ
2) รูปแบบผลลัพธ์
3) ข้อมูลนำเข้า
4) ประกาศตัวแปร
5) ประมวลผล
5.1 เริ่ม
5.2 ประกาศค่าตัวแปร
5.3 กำหนดให้เป็น 0
5.4 Input (ข้อมูลนำเข้า)
5.5 ประมวลผล
5.6 แสดงผล
5.7 จบ
2) รูปแบบผลลัพธ์
3) ข้อมูลนำเข้า
4) ประกาศตัวแปร
5) ประมวลผล
5.1 เริ่ม
5.2 ประกาศค่าตัวแปร
5.3 กำหนดให้เป็น 0
5.4 Input (ข้อมูลนำเข้า)
5.5 ประมวลผล
5.6 แสดงผล
5.7 จบ
ตัวอย่าง การเขียน อัลกอริทึม
การหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยม โดยรับค่าความยาวและความสูงของการใช้งานของผู้ใช้
สิ่งที่โจทย์ต้องการ
พื่นที่รูปสามเหลี่ยม
รูปแบบผลลัพธ์
ค่าความสูง => <รับค่า>
ค่าความยาว => <รับค่า>
พื้นที่สามเหลี่ยม => <แสดงค่า>
ข้อมูลนำเข้า
ความสูง , ความยาว
กำหนดตัวแปร
Height , Base , Area เป็น Real
วิธีการประมวลผล
Start
ประกาศตัวแปร
Height , Base , Area เป็น Real
Input
Area
ประมวลผล
Area = 0.5 *Height * Base
แสดงผลลัพธ์
Area
End
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ผังงาน หรือ โฟลว์ชาร์ต เป็นแผนภาพที่ใช้ออกแบบและอธิบายการทำงานของโปรแกรมโดยอาศัยรูปทรงต่าง ๆ ควบคู่ไปกับลูกศร แต่ละรูปในแผนภาพจะหมายถึงการทำงานหนึ่งขั้นตอน ส่วนลูกศรจะแทนลำดับการทำงานขั้นตอนต่าง ๆ รวมทั้งทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ
ประโยชน์ของผังงาน
- ช่วยอธิบายลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม
- ทำให้ตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย
- ทำให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำงานของโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย
การเขียนผังงานที่ดี
- เขียนตามสัญลักษณ์ที่กำหนด
- ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการทำงานจากบนลงล่าง
- อธิบายสั้น ๆ ให้เข้าใจง่าย
- ทุกแผนภาพต้องมีทิศทางเข้าออก
- ไม่ควรโยงลูกศรไปที่ไกลมาก ๆ ถ้าต้องทำให้ใช้สัญลักษณ์การเชื่อมต่อแทน
โครงสร้างโปรแกรม มีทั้งหมด 3 แบบคือ
1 แบบ Structure
คือ แบบทำจากบนลงล่าง
2 แบบ เงื่อนไข
- 1 เงื่อนไข 1ทางเลือก
- 1 เงื่อนไข 2ทางเลือก
- หลายเงื่อนไข หลายทางเลือก
- 1 เงื่อนไข หลายทางเลือก
3 แบบ Loop
- For คือแบบ รู้จำนวนรอบ ตัวเลขให้กระทำ 1-100 หรือการหาเลขคู่เลขคี่
- While คือแบบ ตรวจสอบเงื่อนไขก่อน จริงทำเท็จออก
- Do While คือแบบ ทำก่อน 1 รอบ แร้วตรวจสอบหาเงื่อนไขก่อน จริงทำเท็จออก
1. การทำงานแบบตาลำดับ (Sequence)
คือ การทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัด จากบรรทัดบนสุดไปจนถึงบรรทัดล่างสุด
2. การเลือกกระทำตามเขื่อนไข
(Decision or Selection)
คือ การสร้าง เงื่อนไขเพื่อให้เลือกทำงานถ้าหากเลือกทางได้ก็จะไปตามเงื่อนไขที่เลือก
3 การทำแบบวนรอบ หรือ loop (Iteration Structure)
คือ การทำงานของรูปแบบนี่ จะเป็นการทำงานซ้ำ ๆ กัน หลาย ๆ ครั้งเท่าที่เราต้องการ (หรืออาจจะทำเพียงครั้งเดียว หรืออาจจะไม่มีการทำงานเลยก็ได้) ซึ่งการทำงานนี้จะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่กำหนดให้
ซูโดโค้ด (Pseudocode)
เป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม โดยใช้ถ้อยคำผสมระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง ส่วนใหญ่มักใช้คำเฉพาะ (Reserve Word) ที่มีในภาษาการเขียนโปรแกรมและมักเขียนด้วยตัวอักษรตัวใหญ่ ซูโดโค้ดที่ดี จะต้องมีความชัดเจน สั้น และได้ใจความ ข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้จะถูกเขียนอยู่ในรูปของตัวแปร
ตัวอย่าง การเขียนซูโดโค้ด คำนวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม หรือเขียนเป็นภาษาอังกฤษได้ดังนี้
Algorithm การหาพื้นที่สามเหลี่ยม Algorithm Average_Sum
1. เริ่มต้น 1. START
2. รับค่าความยาวของฐานมาเก็บใน ตัวแปร X 2. READ X
3. รับค่าความยาวของสูงมาเก็บใน ตัวแปรY 3. READ Y
4. คำนวณหาพื้นที่ ARRAY = ( X*Y ) / 2 4. Compute ARRAY = ( X*Y ) / 2
5. แสดงผลพื้นที่ 5. Print ARRAY
จบ End
หลักการเขียนซูโดโค้ด
- ถ้อยคำที่ใช้เขียน ใช้ภาษาอังกฤษที่เข้าใจง่าย
- ในหนึ่งบรรทัด ให้มีเพียงหนึ่งประโยคคำสั่ง
- ใช้ย่อหน้าให้เป็นประโยชน์ ในการแสดงการควบคุมอย่างเป็นสัดส่วน
- แต่ละประโยคคำสั่งให้เขียนจากบนลงล่าง และมีทางออกทางเดียว
- กลุ่มของประโยคคำสั่งอาจรวมเป็นหมวดหมู่แล้วเรียกใช้เป็นโมดูล
รูปแบบการเขียนรหัสเทียม
ลำดับที่ ขั้นตอนการทำงาน รูปแบบรหัสเที่ยม ความหมาย
1 การรับข้อมูล Read อ่านค่าจากแฟ้มข้อมูล
Get รับค่าทางแป้นพิมพ์หรืออุปกรณ์นาเข้าอื่น
2 การคำนวณ +,-,*,/,^ เครื่องหมายการกระทาทางคณิตศาสตร์
DIV,MOD การหารแบบปัดเศษและหารแบบเอาเศษ
3 การแสดงผลข้อมูล Print แสดงผลลัพธ์ออกทางเครื่องพิมพ์
Write การบันทึกข้อมูลลงแฟ้มข้อมูล
Put,Output,Display การแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ
4 การกำหนดค่า Initialize,Set กำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรที่ใช้
= เก็บค่าผลลัพธ์ซึ่งอยู่ขวาของเครื่องหมา
Save,Store กำหนดค่าให้กับตัวแปร
5 การเปรียบเทียบ If…Else… การเปรียบเทียบค่า
6 การทางานวนรอบ While/Do …While ทดสอบเงื่อนไขถ้าจริงทาการวนรอบ
ถ้าไม่จริงก็ข้ามไป ทำงานที่คำสั่งถัดไป
บรรณานุกรม |
ได้จากความรู้ที่เรียนมาในห้อง โดย (อาจารย์ ตวงสิทธิ์ สนขำ)